กรมอนามัยได้ประกาศมาตรการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดเล็กในบรรยากาศ โดยแบ่งตามสีไว้ดังนี้
ระดับ PM2.5 เฉลี่ย24 ชม. (มคก./ลบม.) |
ระดับ |
สีที่ใช้ |
คำแนะนำในการปฏิบัติตนสำหรับประชาชน |
|
ประชาชนทั่ว |
เด็กเล็ก หญิงตั้งครรถ์ ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจำตัว |
|||
0 - 25 |
ดีมาก |
ฟ้า |
|
|
26 - 37 |
ดี |
เขียว |
|
|
38 - 50 |
ปานกลาง |
เหลือง |
|
|
51 - 90 |
เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ |
ส้ม |
|
|
91 ขึ้นไป |
มีผลกระทบต่อสุขภาพ |
แดง |
|
|
องค์การเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติและองค์กรภาคี ได้เสนอกรอบแนวทาง 6 มิติ เพื่อการเตรียมความ พร้อมก่อนเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา ได้แก่ การดําเนินงานเพื่อความปลอดภัย การเรียนรู้ การครอบคลุมถึง เด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพและการคุ้มครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน จึงมีแนวคิดในการสร้างความ เชื่อมโยงกับมาตรการการเตรียมความพร้อมระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะเตรียมการก่อนเกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน อันจะเป็นการวางแผนที่จะช่วยสร้างเสริมความเข้มแข็งด้านการคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยของนักเรียน นักศึกษา
ความเชื่อมโยง 6 มิติกับมาตรการการเตรียมความพร้อมระหว่างเปิดภาคเรียนในระยะเตรียมการก่อนเกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ดังน้ี
มิติ |
มาตรการการเตรียมความพร้อม |
ความปลอดภัยจากการลดและป้องกัน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน2.5 ไมครอน |
|
การเรียนรู้ |
|
การครอบคลุมนักเรียนนักศึกษาทั้ง นักเรียนนักศึกษา ที่มีความบกพร่องทาง สติปัญญา บกพร่องทางการเรียนรู้ บกพร่องด้านพฤติกรรมอารมณ์ บกพร่องทางการได้ยิน บกพร่องทางการพูด มี ภาวะสมาธิสั้นและเด็ก ออทิสติก รวมถึงนักเรียน นักศึกษาในพื้นที่ห่างไกล |
|
สวัสดิภาพและการคุ้มครอง |
|
นโยบาย |
|
การบริหารการเงิน |
|
เมื่อช่วงที่สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน อยู่ในระดับที่เกินมาตรฐานและอาจจะมี ผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียน นักศึกษา (PM2.5 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่ามากกว่า 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์ เมตร (มคก./ลบ.ม.)) โดยเฉพาะนักเรียน นักศึกษากลุ่มเสี่ยง เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 2.5 ไมครอน จึงกําหนดให้มีแนวปฏิบัติระหว่างเปิดภาคเรียน ในระยะเกิดปัญหาฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน โดยแบ่งเป็นแนวทางทางการปฏิบัติ สําหรับผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้อํานวยการสถานศึกษา ครู/ผู้ดูแล นักเรียน นักศึกษา นักเรียน นักศึกษา/แกนนํานักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ดังน้ี
ทั้งนี้ อาจพิจารณายกเลิกการเรียนการสอนในระดับชั้นอนุบาลก่อน และหากสถานการณ์ PM2.5 ยังไม่ลดลงให้พิจารณายกเลิกการเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ตามลําดับ
ระดับ PM2.5 (มคก./ลบ.ม.) |
มาตรการสําหรับสถานศึกษา |
0–25 ดีมาก |
นักเรียน นักศึกษาทุกคน : ทํากิจกรรมได้ตามปกติ |
26-37 ดี |
|
38-5 ปานกลาง |
ครู : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาทุกเช้า และสังเกตอาการนักเรียนนักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคือง ตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที |
51-90 เริ่มมีผลกระทบต่อ สุขภาพ |
ครู : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงเช้า / บ่าย และสังเกตอาการนักเรียน นักศึกษา หากมีอาการผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแล อย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที |
91 ขึ้นไป มีผลกระทบต่อ สุขภาพ |
ครู : สื่อสารข้อมูลสถานการณ์มลพิษทางอากาศและวิธีการป้องกันตนเองแก่นักเรียน นักศึกษาในช่วงเช้า/ เที่ยง/ บ่าย และสังเกตอาการนักเรียน นักศึกษาหากมีอาการ ผิดปกติ เช่น เคืองตา คันตา ตาแดง ให้ใช้น้ําสะอาดล้างดวงตา หลีกเลี่ยงการขยี้ตา และดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้หากอาการรุนแรงให้ไปพบแพทย์ทันที |